Life Di Hackathon – Mental Health Innovation Challenge 2022

09 Jun 2022

ขอเชิญชวน นิสิต นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจการสร้างนวัตกรรมด้านจิตวิทยาพัฒนาการ
เข้าร่วมเวิร์คชอปสร้างนวัตกรรมด้านจิตวิทยาพัฒนาการ พร้อมส่งไอเดียเข้าประกวดไอเดียธุรกิจด้านจิตวิทยาพัฒนาการในโครงการ

 

 

Life Di Hackathon – Mental Health Innovation Challenge

 

 

 

โครงการนี้แบ่งออกเป็น 3 หัวข้อ

  1. Child development & Early Intervention ผลิตภัณฑ์หรือการบริการสำหรับเด็กเล็ก
  2. Intergeneration with Aging ผลิตภัณฑ์หรือการบริการเพื่อตอบปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างวัยกับผู้สูงอายุ
  3. Performance & Competitive anxiety (Music & Sport) ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่เกี่ยวกับการจัดการความวิตกกังวลจากการแข่งขันกีฬาและดนตรี

 

อ่านข้อมูลเกี่ยวกับจิตวิทยาพัฒนาการก่อนเข้าร่วมกิจกรรมได้ภายในเว็บไซต์ https://www.chulalifedi.com

 

 

 

ผู้เข้าร่วมจะได้พบกับผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาพัฒนาการ จากคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จะมาเข้าร่วมแบ่งปันความรู้และให้คำปรึกษาในการสร้างนวัตกรรมของแต่ละทีม

 

เงินรางวัล

– อันดับ 1 : 25,000.-
– อันดับ 2 : 15,000.-
– อันดับ 3 : 10,000.-
– รางวัลพิเศษ (Popular vote) : 5,000.- จากยอด Like + Share ไอเดียของแต่ละทีม

 

กติการการรับสมัคร

– รับสมัครแบบเดี่ยว
– กรณีมีทีมอยู่แล้วให้สมาชิกแต่ละท่านแยกสมัครแล้วกรอกชื่อทีมในช่องที่ระบุ
– เข้าร่วมกิจกรรมจับทีมในวันเสาร์ที่ 2 ก.ค. 2565

 

รายละเอียดกิจกรรม

 

Workshop Day: เสาร์ที่ 2 ก.ค. 2565 (On-site ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (จามจุรี 10) ชั้น 20
Pitching Day: เสาร์ที่ 9 ก.ค. 2565 (Online ผ่าน Zoom)

 

กำหนดการ

 


 

เสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2565
ณ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (จามจุรี 10) ชั้น 20

 

9:00 – 9:30 น. พิธีเปิด โดย คณบดีคณะจิตวิทยา และรองอธิการบดี,  แนะนำการแข่ง  Mentors & experts
9:30 – 11:00 น. Knowledge Sharing
     – ประเด็นที่สังคมสนใจเกี่ยวกับงานด้านพัฒนาการเด็ก โดย รศ.ดร.พรรณระพี สุทธิวรรณ
     – ประเด็นที่สังคมสนใจเกี่ยวกับงานด้วยความสัมพันธ์ผู้สูงวัย โดย อ.ดร.นิปัทม์ พิชญโยธิน
     – ประเด็นที่สังคมสนใจเกี่ยวกับงานด้าน Performance & Competitive Anxiety โดย รศ. สักกพัฒน์ งามเอก
11:00 – 12:00 น. Workshop: Lab-to-Market – สร้าง Use Case ทางธุรกิจด้วย Customer Journey Mapping
12:00 – 13:00 น. พักเที่ยง
13:00 – 15:00 น. Team Formation Workshop และแจก Pitching Template
15:00 – 15:15 น. พักเบรก
15:15 – 16:00 น. Knowledge Sharing เคล็ดลับการสร้างสตาร์ทอัพ, Lean Canvas และ การออกแบบธุรกิจ
 Team Formation โดย Professor Sukanlaya Sawang, Coventry University
17:00 – 18:00 น. สรุปกิจกรรมประจำวันและนัดหมาย

 

Mentoring Session ทางออนไลน์
วันจันทร์ที่ 4 –  วันศุกร์ที่ 8 ก.ค. 2565
ช่วงเวลา 17:00 – 19:00 น.  (ตาม booking slot)

 


 

เสาร์ที่ 9 กรกฎาคม 2565
Online ผ่าน Zoom

 

8:30 – 9:00 น. ทีมรายงานตัว
9:00 – 10:30 น. Knowledge Sharing – Pitching Tips by Hackathon Thailand
10:30 – 12:00 น. Mentoring Session
13:00 – 16:00 น. Pitching (Presentation 5 นาที + Q&A 5 นาที)
16:00 – 17:00 น. กรรมการประชุมให้คะแนน
17:00 – 17:30 น. การประกาศผลรางวัล

 


 

 

หากท่านสนใจร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างนวัตกรรมทางจิตวิทยาพัฒนาการ

สามารถเข้าไปลงทะเบียนได้ที่ https://bit.ly/lifedihackathon

 

หากมีข้อสงสัยกรุณาติดต่อ sindy@hackathonthailand.com

Share this content